Read me 24 - page 40

สาเหตุ
ของสงครามโลกครั้
งที่
1 เกิ
ดจากอะไร
อ.สั
ญชั
: ในภาพกว้
างๆของยุ
โรปผมเห็
นว่
าช่
วงก่
อนค.ศ.
1914ตั้
งแต่
ค.ศ.1908ลงมาจนถึ
งค.ศ.1914มี
วิ
กฤตการณ์
หลายๆ
อย่
างเกิ
ดขึ้
นในยุ
โรปอยู
แล้
วทั้
งวิ
กฤตการณ์
ทางการเมื
องและความ
ขั
ดแย้
งระหว่
างประเทศ ตอนนั้
นยุ
โรปแบ่
งออกเป็
น 2 กลุ
มที่
ค่
อน
ข้
างชั
ดเจน กลุ่
มหนึ่
งมี
เยอรมนี
, ออสเตรี
ย-ฮั
งการี
, อิ
ตาลี
ส่
วนอี
กลุ
มหนึ่
งเป็
นอั
งกฤษ,ฝรั่
งเศส, รั
สเซี
ยปั
ญหาความขั
ดแย้
งระหว่
าง
ประเทศที่
มั
นเกิ
ดขึ้
น ไม่
ว่
าจะเป็
นส่
วนที่
เกี่
ยวกั
บวิ
กฤตการณ์
ใน
บอลข่
านปั
ญหาความขั
ดแย้
งด้
านอาณานิ
คมและการขยายก�
ำลั
งรบ
ลั
ทธิ
ทหารนิ
ยมลั
ทธิ
ชาติ
นิ
ยมและอื่
นๆปั
ญหาต่
างๆ เหล่
านี้
ได้
น�
ำไป
สู
การเกิ
ดบรรยากาศการเมื
องโลกที่
ค่
อนข้
างจะอึ
มครึ
ม เป็
นสภาวะ
ที่
ทุ
กคนบอกว่
าเป็
นสั
นติ
ภาพติ
ดอาวุ
ธ วิ
กฤตการณ์
แต่
ละเรื่
องเกี่
ยว
โยงกั
นเป็
นลู
กโซ่
แม้
จะมี
การพยายามเจรจาด้
วยการจั
ดประชุ
ระหว่
างประเทศ แต่
ก็
ไม่
ได้
ผล ทุ
กฝ่
ายถู
กกดดั
นและรู้
สึ
กอึ
ดอั
ดต่
สถานการณ์
ทางการเมื
องระหว่
างประเทศในขณะนั้
น ดั
งนั้
นเมื่
อาร์
ชดุ
กฟรานซิ
ส เฟอร์
ดิ
นานด์
มกุ
ฎราชกุ
มารแห่
งจั
กรวรรดิ
ออสเตรี
ย-ฮั
งการี
เสด็
จประพาสกรุ
งเซราเยโว แล้
วถู
กลอบปลง
พระชนม์
ในบอสเนี
ย จึ
งกลายเป็
นชนวนเหตุ
ส�
ำคั
ญของสงคราม
ออสเตรี
ยได้
ยื่
นค�
ำขาดต่
อเซอร์
เบี
ยให้
หาคนที่
อยู
เบื้
องหลั
งการลอบ
ปลงพระชนม์
แต่
ล้
มเหลว เซอร์
เบี
ยจึ
งขอให้
รั
สเซี
ยช่
วยจึ
งท�
ำให้
เกิ
การการระดมพลและความตึ
งเครี
ยดระหว่
างประเทศจนน�
ำไปสู
สงครามระดั
บท้
องถิ่
นและระดั
บประเทศในที่
สุ
บรรยากาศอึ
มครึ
มยั
งไง
อ.สั
ญชั
:หากดู
ในบรรยากาศของยุ
โรปหลั
งจากที่
เยอรมนี
ซึ่
งก่
อนหน้
านั้
นคื
อดิ
นแดนเยอรมนี
รวมตั
วเป็
นประเทศเป็
นจั
กรวรรดิ
เยอรมนี
ในปลายคริ
สต์
ศตวรรษที่
19 ประมาณ ค.ศ. 1870
เยอรมนี
ขึ้
นมามี
อ�
ำนาจแทนฝรั่
งเศสและพยายามท�
ำลายอิ
ทธิ
พล
ของฝรั่
งเศสลงโดยโดดเดี่
ยวฝรั่
งเศสไม่
ให้
มี
บทบาททางการเมื
อง
ระหว่
างประเทศช่
วงค.ศ.1870-1890และประสบความส�
ำเร็
จช่
วง
เวลาดั
งกล่
าวเรี
ยกว่
าเป็
นสมั
ยระบบบิ
สมาร์
คหรื
อระบบพั
นธมิ
ตรอั
ซั
บซ้
อนโดยมี
เยอรมนี
เป็
นศู
นย์
กลาง
แต่
หลั
งค.ศ.1890 เยอรมนี
มี
การเปลี่
ยนตั
วของกษั
ตริ
ย์
องค์
ใหม่
ก็
คื
อไกเซอร์
วิ
ลเลี
ยมที่
2ขึ้
นครองบั
ลลั
งก์
พระองค์
มี
นโยบายที่
ต้
องการขยายอิ
ทธิ
พลของจั
กรวรรดิ
เยอรมนี
ออกไปโดยไม่
เห็
นด้
วย
กั
บนโยบายการสร้
างสั
นติ
ภาพ ทรงเห็
นว่
าหากขณะนั้
นอั
งกฤษซึ่
มี
อาณานิ
คมทั่
วโลก และได้
ชื่
อว่
าเป็
นดิ
นแดนที่
พระอาทิ
ตย์
ไม่
ลั
ขอบฟ้
า เยอรมนี
เองก็
ต้
องการขยายอ�
ำนาจและอิ
ทธิ
พลแข่
งขั
นกั
อั
งกฤษโดยมี
แนวความคิ
ดว่
าที่
ไหนมี
แสงอาทิ
ตย์
สาดแสงไปถึ
เยอรมนี
ก็
ต้
องไปถึ
งที่
นั่
นด้
วย เยอรมนี
จึ
งเริ่
มขยายแสนยานุ
ภาพ
และก�
ำลั
งรบแต่
การที่
เยอรมนี
ละทิ้
งนโยบายการโดดเดี่
ยวฝรั่
งเศส
จึ
งเปิ
ดโอกาสให้
ฝรั่
งเศสไปผู
กมิ
ตรกั
บรั
สเซี
ย แล้
วในเวลาต่
อมา
ฝรั่
งเศส รั
สเซี
ย อั
งกฤษ ก็
เป็
นพั
นธมิ
ตรกั
น ในส่
วนของเยอรมนี
ก็
พยายามกระชั
บมิ
ตรกั
บออสเตรี
ย-ฮั
งการี
และอิ
ตาลี
ยุ
โรปแบ่
งออกเป็
น2ค่
ายหลั
กๆยั
งไงบ้
าง
อ.สั
ญชั
: การแบ่
งค่
ายของมหาอ�
ำนาจยุ
โรปในปลาย
คริ
สต์
ศตวรรษที่
19 เริ่
มจากระบบการผู
กมิ
ตรและนโยบายการ
ต่
างประเทศของเยอรมนี
ที่
เรี
ยกว่
าระบบบิ
สมาร์
คในการสร้
างพั
นธ
ไมตรี
กั
บประเทศมหาอ�
ำนาจยุ
โรปอื่
นๆ เพื่
อป้
องกั
นไม่
ให้
ฝรั่
งเศสมี
พั
นธมิ
ตรแต่
หลั
งบิ
สมาร์
คอั
ครเสนาบดี
เยอรมนี
หมดอ�
ำนาจในค.ศ.
1890 ไกเซอร์
วิ
ลเลี
ยมที่
2 ทรงปฏิ
เสธที่
จะต่
อสนธิ
สั
ญญาประกั
พั
นธไมตรี
กั
บรั
สเซี
ยที่
หมดอายุ
ลงใน ค.ศ.1890 รั
สเซี
ยจึ
งเห็
นว่
เยอรมนี
ออสเตรี
ย-ฮั
งการี
เป็
นคนละฝ่
ายกั
บตนจึ
งหั
นไปผู
กมิ
ตร
กั
บฝรั่
งเศส ต่
อมามี
การท�
ำความตกลงฝรั่
งเศส-รั
สเซี
ย ค.ศ.1894
สนธิ
สั
ญญาฉบั
บนี้
ท�
ำให้
การโดดเดี่
ยวฝรั่
งเศสของเยอรมนี
สิ้
นสุ
ลง โดยรั
สเซี
ยเป็
นประเทศที่
เป็
นพั
นธมิ
ตรของฝรั่
งเศสต่
อมาในค.ศ.
1907อั
งกฤษซึ่
งไม่
พอใจทั้
งนโยบายการส่
งเสริ
มก�
ำลั
งทั
พและการ
ขยายแสนยานุ
ภาพทางทะเลที่
ก้
าวร้
าวและความทะเยอทะยาน
ของเยอรมนี
ก็
ยุ
ติ
นโยบายอยู่
อย่
างโดดเดี่
ยว (Splendid Isolation)
และเข้
าร่
วมเป็
นพั
นธมิ
ตรกั
บฝรั่
งเศสและรั
สเซี
ย สนธิ
สั
ญญา
พั
นธไมตรี
ฝรั่
งเศส-รั
สเซี
ยจึ
งขยายเป็
นฝรั่
งเศส รั
สเซี
ยอั
งกฤษ โดย
เรี
ยกว่
ากลุ
มประเทศความตกลงไตรภาคี
(Triple Entente) และเป็
ค่
ายมหาอ�
ำนาจส�
ำคั
ญที่
คานอ�
ำนาจกั
บกลุ
มประเทศสนธิ
สั
ญญา
พั
นธไมตรี
ไตรภาคี
(TripleAlliance)ที่
มี
เยอรมนี
ออสเตรี
ย-ฮั
งการี
และอิ
ตาลี
ที่
บิ
สมาร์
คจั
ดตั้
งขึ้
นในค.ศ.1882 ยุ
โรปจึ
งแบ่
งเป็
น 2 ค่
าย
และต่
างไม่
ไว้
วางใจกั
นทั้
งแข่
งขั
นกั
นโน้
มน้
าวประเทศเล็
กอื่
นๆ เข้
เป็
นพั
นธมิ
ตรของตน เมื่
อทั้
ง2ค่
ายต้
องเผชิ
ญหน้
ากั
นในวิ
กฤตการณ์
ต่
างๆ ก็
มั
กไม่
ยอมอ่
อนข้
อให้
แก่
กั
น ยิ่
งเมื่
อเกิ
ดกรณี
พิ
พาทระหว่
าง
ประเทศใดๆ ขึ้
นแต่
ละฝ่
ายก็
ไม่
ยอมร่
วมแก้
ไขปั
ญหาที่
เกิ
ดขึ้
นและ
จะสนั
บสนุ
นพั
นธมิ
ตรของตนจนท้
ายที่
สุ
ดน�
ำไปสู
การเกิ
ดสงคราม
มี
ผลกระทบที่
ตามมาไหม
อ.สั
ญชั
: ผลที่
ตามมาคื
อเยอรมนี
ซึ่
งแน่
ใจมาตั้
งแต่
ต้
ว่
าสงครามอาจเกิ
ดขึ้
นแน่
นอน จึ
งวางแผนว่
ากรณี
ที่
เกิ
ดสงคราม
เยอรมนี
จะใช้
ยุ
ทธศาสตร์
การรบแบบไหน เยอรมนี
คิ
ดว่
าจะบุ
เบลเยี
ยมเพื่
อมุ
งพิ
ชิ
ตฝรั่
งเศสก่
อนโดยหวั
งมี
ชั
ยชนะฝรั่
งเศสให้
ได้
ภายในระยะเวลา 6 สั
ปดาห์
ในช่
วงที่
เยอรมนี
บุ
กฝรั่
งเศส เยอรมนี
1...,30,31,32,33,34,35,36,37,38,39 41,42,43,44,45,46,47,48,49,50,...56
Powered by FlippingBook