33
Did You
Know?
เรื
่อง : ศราวุธ ชื
่นรส
รู้
หรื
อไม่
?
คศ.1987 วงการ
เพลงทั่
วโลกสั่
นสะเทื
อนจากอั
ลบั้
ม
Bad ด้
วยท่
าเต้
นยอดฮิ
ตอย่
าง
มู
นวอล์
ค ของ ไมเคิ
ล แจ็
คสั
น
และเกิ
ดการเลี
ยนแบบท่
าเต้
นไปทั่
ว
โลก
รู้
หรื
อไม่
?
ผลผลิ
ตจาก
การคิ
ดค้
นหลอดภาพ
อิ
เล็
กทรอนิ
คส์
ได้
ทำให้
ปี
ค.ศ.1926 จอห์
น โลจี
แบร์
ด วิ
ศวกรชาวสกอตฯ
นำไปต่
อยอดจนผลิ
ต
โทรทั
ศน์
เป็
นครั้
งแรก
ของโลก
รู้
หรื
อไม่
?
สมั
ยราชวงศ์
หยวน
เป็
นราชวงศ์
แรกของจี
นที่
ใช้
เงิ
น
กระดาษที่
ชื่
อว่
า “เจ้
า” เป็
นเครื่
อง
แลกเปลี่
ยนหมุ
นเวี
ยน
ละเมิ
ดลิ
ขสิ
ทธิ์
โดย อ.สมเกี
ยรติ
ตั้
งนโม นั
กวิ
ชาการมหาวิ
ทยาลั
ยเที่
ยงคื
น
ได้
แปลเป็
นภาษาไทยว่
า ‘ลิ
ขซ้
าย’ หรื
อ ‘นิ
รสิ
ทธิ์
’ หมายถึ
ง ระบบที่
ไม่
มี
หรื
อ
ไม่
ให้
สิ
ทธิ
คุ้
มครอง เรี
ยกได้
ว่
าเป็
นการตอกหน้
ากลายๆ ให้
กั
บผู้
ชอบละเมิ
ด
ขโมย หรื
อเอาความคิ
ดไปใช้
แบบฟรี
ๆ ได้
อย่
างเจ็
บแสบ
ต่
อมา GNU General Public License (GPL) ก็
ได้
รั
บการต่
อยอดให้
ครอบคลุ
มนอกเหนื
อจากซอฟต์
แวร์
ไปสู่
ผลงานสร้
างสรรค์
อื่
นๆ ทั้
ง เว็
บไซต์
ดนตรี
ภาพยนตร์
ภาพถ่
าย งานเขี
ยน และสื่
อการเรี
ยนรู้
โดยใช้
ชื่
อว่
า
‘ครี
เอที
ฟคอมมอนส์
(Creative Commons)’ ซึ่
งได้
พั
ฒนาเว็
บไซต์
ที่
ช่
วยให้
ผู้
สร้
างผลงานได้
เผยแพร่
งานของตนสู่
สาธารณะ โดยไม่
สงวนสิ
ทธิ์
หรื
อสงวน
สิ
ทธิ์
บางประการตามเงื่
อนไขที่
กำหนดได้
เอง
และในปั
จจุ
บั
น ครี
เอที
ฟคอมมอนส์
ประเทศไทย ก็
ได้
ถื
อกำเนิ
ดขึ้
นมา
สั
กระยะแล้
ว แต่
ดู
เหมื
อนว่
าจะไม่
ค่
อยมี
การเคลื่
อนไหวใดๆ มากนั
กในหมู่
คนไทย ซึ่
งบางที
ก็
อาจจะได้
ใช้
ในหมู่
คนทำงานศิ
ลปะแบบอิ
นดี้
ๆ หน่
อย
เท่
านั้
น ที่
อยากจะเผยแพร่
ผลงานของตนเองได้
เป็
นที่
รู้
จั
กในวงกว้
าง ถึ
ง
กระนั้
นก็
เถอะ ในแวดวงคนทำงานสร้
างสรรค์
ที่
เข้
าขั้
นแมสๆ หน่
อย จุ
ด
ประสงค์
ของการทำงานก็
เพื่
อผลประโยชน์
ในทางธุ
รกิ
จหรื
อ ‘เงิ
น’ อยู่
ดี
บรรดาค่
ายเพลง ค่
ายหนั
ง หรื
อแม้
กระทั่
งคนทำงานสร้
างสรรค์
ทั่
วไปจึ
งหา
ทางออกด้
วยการเพลย์
เซฟตั
วเอง อย่
างเช่
นการปล่
อยเพลงออกมาที
ละ
ซิ
งเกิ
ล ทำหนั
งต้
นทุ
นต่
ำ แต่
คาดหวั
งทางการตลาดสู
ง หรื
อเลวร้
ายที่
สุ
ดก็
ถึ
ง
ขั้
นเลิ
กทำไปเลยก็
มี
อย่
างที่
เขาว่
ากั
นว่
าคนใจบุ
ญสมั
ยนี้
หายากขึ้
นทุ
กที
จึ
งพู
ดไม่
ได้
พู
ดอย่
างเต็
มปากเต็
มคำว่
าการ Copyleft จะใช้
ได้
ผลใน
ประเทศไทยแบบร้
อยเปอร์
เซ็
นต์
เพราะฉะนั้
นไม่
ว่
าใครจะคิ
ดค้
นวิ
ธี
การแก้
ไข
ปั
ญหาได้
ดี
เพี
ยงใด...สุ
ดท้
ายทางออกก็
ขึ้
นอยู่
กั
บคำว่
า ‘จิ
ตสำนึ
ก’ อยู่
ดี
*ขอบคุ
ณข้
อมู
ลทั้
งหมดจาก Wikipedia,
, cc.in.th และภาพประกอบจากอิ
นเทอร์
เน็
ต