Read me 10 - page 23

| January-February 2012
23
เมื่
อถามถึ
งเรื่
องราวน่
าสนใจที่
แต่
ละวั
ยพบจากการใช้
โซเชี
ยลเน็
ตเวิ
ร์
ก อ.ดร.ณรงค์
เล่
าว่
า เฟซบุ๊
กทำ
�ให้
เขาได้
เจอเพื่
อนสมั
ยมั
ธยมต้
นอี
กครั้
ง “ใช้
อิ
นเทอร์
เน็
ตมาเกื
อบ
20 ปี
มั
นไม่
เคยลงไปถึ
งเพื่
อนสมั
ยมั
ธยมที่
เราจะไปค้
นเจอ
แต่
เฟซบุ๊
กมั
นทำ
�ให้
เราล้
วงไปถึ
งตรงนั้
นได้
ตรงนี้
คื
ความหมายของโซเชี
ยลมี
เดี
ย มั
นมี
คุ
ณค่
ามากที่
เราสามารถ
เข้
าไปถึ
งกลุ่
มคนต่
างๆ แม้
แต่
เพื่
อนลู
กก็
มาขอเป็
นเพื่
อน
ครู
บนเฟซบุ๊
ก”
ทางด้
านแอนขอเกาะกระแส ด้
วยการแชร์
เรื่
องนํ้
าท่
วม
“ช่
วงนํ้
าท่
วมที่
ผ่
านมาแปลกใจมากที่
เราไม่
เคยคุ
ยกั
บเพื่
อน
บ้
านเลย แต่
ไปคุ
ยกั
บใครก็
ไม่
รู้
ที่
ไม่
รู้
จั
ก เรารู้
ข้
อมู
ลข้
างนอก
มากกว่
าข้
อมู
ลข้
างบ้
าน และพฤติ
กรรมที่
ซั
บซ้
อนกว่
านั้
นคื
เราดั
นมารู้
จั
กเพื่
อนบ้
านจากเฟซบุ๊
ก มี
คนไปตั้
งเป็
นกรุ๊
ปของ
หมู่
บ้
านขึ้
นมา ทุ
กคนไปรู้
จั
กกั
นผ่
านตรงนั้
นก่
อน แล้
วค่
อยมา
เจอตั
วจริ
ง เป็
นความสั
มพั
นธ์
แบบประหลาดที่
เพิ่
งเคยเจอ”
ส่
ว น ว า ลั
ด เ ส ริ
ม เ รื่
อ ง ที่
ไ ม่
ค ว ร ม อ ง ข้
า ม อ ย่
า ง
‘ลั
ทธิ
ล่
าแม่
มดไซเบอร์
’ ผ่
านเฟซบุ๊
กโดยการตั้
งกลุ่
มเกลี
ยด
คนนู้
น ไม่
ชอบคนนี้
“ด้
วยธรรมชาติ
ของเฟซบุ๊
กที่
สามารถ
โน้
มน้
าวใจให้
คนรู้
สึ
กร่
วมกั
นได้
มากขึ้
น มั
นจึ
งถู
กใช้
เป็
นเครื่
องมื
อในการเผยแพร่
ความเกลี
ยดชั
ง ชั
กชวนคน
เข้
าไปร่
วมกรุ๊
ปแล้
วก็
ด่
าๆๆ กั
นด้
วยอารมณ์
ซึ่
งเรากำ
�ลั
ใช้
พื้
นที่
สาธารณะตรงนี้
อย่
างผิ
ดที่
ผิ
ดทางหรื
อเปล่
า”
หากมองในแง่
พฤติ
กรรมการเรี
ยนรู้
และเข้
าถึ
งเทคโนโลยี
อาจต้
องบอกว่
า บุ
ตรหลานคว ร ให้
คำ
�แนะนำ
�แก่
ผู้
ปกครองด้
วย เพราะอิ
นเทอร์
เน็
ตเป็
นสื่
อที่
เติ
บโตตาม พ.ศ.
ที่
เพิ่
มขึ้
น ดั
งนั้
นคนเกิ
ดก่
อนจึ
งไม่
ได้
มี
ประสบการณ์
สู
งกว่
เ สมอ ไ ป และ ใ นอี
กแ ง่
มุ
มหนึ่
ง โ ซ เ ชี
ยล เ น็
ต เ วิ
ร์
ก็
เปรี
ยบเสมื
อนการจั
บ อ.ดร.ณรงค์
แอน และวาลั
ด มาเรี
ยง
บนกระดานเดี
ยวกั
นรั
บรู้
สารเดี
ยวกั
น ทั้
งที่
มี
พื้
นฐาน
ความรู้
และวิ
จารณญาณคนละระดั
บ ทำ
�ให้
บางคนเอาอยู่
แต่
บางคนก็
เอาไม่
อยู่
หลายครั้
งเรารั
บข้
อมู
ลมหาศาล
พลางยิ้
มกระหยิ่
มใจว่
า ตอนนี้
ฉั
นรู้
มากกว่
าคนอื่
นแล้
วนะจ๊
แต่
ถ้
าขุ
ดลงไปใต้
ข้
อมู
ลกองพะเนิ
นเทิ
นทึ
ก เราจะพบ
สิ่
งที่
เรี
ยกว่
าอารมณ์
และอุ
ดมการณ์
ของแต่
ละบุ
คคล
แฝงอยู่
ในนั้
นมากมาย ความท้
าทายของผู้
ปกครองยุ
คใหม่
จึ
งไม่
ได้
อยู่
ที่
เราจะทำ
�อย่
างไรให้
ลู
กใช้
อิ
นเทอร์
เน็
ตน้
อยลง
(เพราะเอาจริ
งๆ แม่
ก็
ยั
งติ
ดเฟซบุ๊
กเลยลู
ก) แต่
สำ
�คั
ญที่
ว่
เราจะปลู
กฝั
งภู
มิ
ต้
านทานในการมี
วิ
จารณญาณให้
แก่
พวกเขาได้
อย่
างไร
ส่
วนในประเด็
นที่
คนสมั
ยนี้
ต่
างอยากแสดงความเห็
กั
บแทบทุ
กเรื่
อง หรื
อบอกเล่
าความเป็
นไปในชี
วิ
ตให้
คนอื่
นรั
บรู้
ตลอดเวลา ทั้
งสามคนต่
างให้
ความเห็
นตรงกั
นว่
พฤติ
กรรมเหล่
านี้
หลายคนทำ
�เพื่
อไม่
ให้
ตั
วเองรู้
สึ
กโดดเดี่
ยว
เกิ
นไป อั
นเป็
นปั
ญหาคลาสสิ
กของสั
งคมเมื
อง และไม่
ว่
แต่
ละคนจะรู้
ตั
วหรื
อไม่
รู้
ตั
วก็
ตาม แต่
โซเชี
ยลเน็
ตเวิ
ร์
กกำ
�ลั
ทำ
�ให้
เรารั
บข้
อมู
ลข่
าวสารมากเกิ
นพอดี
ประดุ
จมวลนํ้
ก้
อนใหญ่
ที่
ล้
นทะลั
ก แน่
นอนว่
า เมื่
อรั
บมามากเราก็
ต้
องหา
ช่
องทางระบายออกมากขึ้
นด้
วยเช่
นกั
น ซึ่
งข้
อดี
คื
อ เราได้
แลกเปลี่
ยนความคิ
ดเห็
นกั
นมากขึ้
น แต่
ต้
องตระหนั
กเสมอ
ว่
า เราควรระบายออกในช่
องทางที่
เหมาะสม และไม่
ก่
อให้
เกิ
ดผลกระทบในทางลบต่
อผู้
อื่
สำ
� ห รั
บ ก า ร ดำ
� ร ง ตน เ ป็
นพล เ มื
อ ง เ น็
ตที่
ดี
นั้
อ.ดร.ณรงค์
แนะว่
าอย่
าแสดงอารมณ์
ส่
วนตั
วมากเกิ
นไป
เพราะเราอาจทำ
�ร้
ายผู้
อื่
นโดยไม่
รู้
ตั
ว ส่
วนพี่
แอนอยากให้
ทุ
กคนยึ
ดหลั
ก โยนิ
โสมนสิ
การ เท่
ากั
บ ‘ไม่
เกรี
ยน’ เอาไว้
ให้
มั่
น เพื่
อความสงบสุ
ขของทุ
กฝ่
าย และถึ
งแม้
เรา
จะติ
ดหนึ
บกั
บอิ
นเทอร์
เน็
ตกั
นขนาดไหน วาลั
ดก็
ขอฝาก
คำ
�คมน่
าคิ
ดทิ้
งท้
ายว่
า อย่
ามั
วแต่
จิ้
มเน็
ตเพลิ
นจนละเลย
ชี
วิ
ตจริ
ง เพราะอิ
นเทอร์
เน็
ตเปิ
ด-ปิ
ดได้
ตลอดเวลา
แต่
ชี
วิ
ตเราเปิ
ด-ปิ
ดกั
นเพี
ยงครั้
งเดี
ยวเท่
านั้
วาลั
ด เสน่
ห์
อ.ดร.ณรงค์
ขำ
�วิ
จิ
ตร์
ปรั
ชญา สิ
งห์
โต
1...,13,14,15,16,17,18,19,20,21,22 24,25,26,27,28,29,30,31,32,33,...54