สารบัญ
เอกสารอ้างอิง

ฉวีงาม มาเจริญ. ๒๕๒๐. ธงไทย. กรุงเทพ: กรมศิลปากร. _____________. ๒๕๔๙. ธงไทย เล่ม ๒. กรุงเทพ: กรมศิลปากร.

ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จฯ กรมพระยา. ๒๔๙๓. ตำนานกฎหมายเมืองไทยและประมวลคำอธิบายทาง นิติศาสตร์. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ไทยเขษม. _____________. ๒๕๐๓. อธิบายเรื่องธงไทย. อธิบายเรื่องธงไทย การปกครอง ประเทศไทยแต่โบราณ และอักขรานุกรมศิลปากร. กรุงเทพ: กองทัพบก. (พิมพ์ในงานกฐินพระราชทาน ณ วัดประยุรวงศาวาส พ.ศ.๒๐๑๓) _____________. ๒๕๑๖. ความทรงจำ. กรุงเทพ: ศิลปาบรรณาคาร.

ทัศนาวลัย ศรสงคราม, ท่านผู้หญิง. ๒๕๒๖. เจ้านายและข้าราชการกราบบังคมทูลความเห็นจัดการ เปลี่ยนแปลงราชการแผ่นดิน ร.ศ.๑๐๓ และ พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแถลงพระบรมราชาธิบายแก้ไขการปกครองแผ่นดิน. พิมพ์ถวายเนื่องในงานฉลองพระชันษาครบ ๖๐ พรรษาของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา. กรุงเทพ: บริษัท จันวาณิชย์.

เทาเซนด์ แฮรีส. ๒๕๑๕. บันทึกรายวันของเทาเซนด์ แฮรีส. แปลโดย นันทา วรเนติวงศ์. กรุงเทพ:กรมศิลปากร.

ธานินทร์ กรัยวิเชียร. ๒๕๑๑. ภาษากฎหมายไทย. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ตีรณสาร. _____________. ๒๕๑๘. คำแนะนำนักศึกษากฎหมาย. กรุงเทพ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ประชุมพงศาวดาร เล่ม ๒๖ เรื่อง อธิบายเรื่องทูตไทยไปยุโรป. กรุงเทพ: องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๑๒.

ประชุมพงศาวดาร เล่ม ๓๔ เรื่องพงศาวดารเมืองเงินยาง (ต่อ) เชียงแสน, ว่าด้วยเรื่องทูตฝรั่งสมัยสมัย กรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพ: องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๑๒.

ประชุมพงศาวดาร เล่ม ๔๐. กรุงเทพ: องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๑๒.

มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. ๒๕๑๗. จดหมายเหตุรายวันในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว. กรุงเทพ: โรงพิมพ์มหามงกุฎราชวิทยาลัย. (พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพหม่อมเจ้าชัชวลิต เกษมสันต์ ณ เมรุวัดเทพศิริน-ทราวาส วันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๗)

ไมเคิล ไรท. ๒๕๔๙. “ไมเคิล ไรท ลุกขึ้นตะเบ๊ะธงชาติ” ไมเคิล ไรท มองโลก. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มติชน. ยุพา แสงทักษิณ. ๒๕๓๐. ธงไทย. กรุงเทพ: องค์การค้าของคุรุสภา.

ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๑๘ ตอนที่ ๙๙ ง วันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๔

ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๒ แผ่นที่ ๑๘ วันที่ ๔ สิงหาคม ร.ศ.๑๑๔

ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๔ แผ่นที่ ๒ วันที่ ๑๑ เมษายน ร.ศ.๑๑๖

ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๒๗ วันที่ ๑๒ มีนาคม ร.ศ.๑๒๙

ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๓๓ วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๕๙

ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๓๔ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖๐

ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๓๘ วันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๔๖๔

ราชบัณฑิตยสถาน. ๒๕๔๒. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒. กรุงเทพ: ๒๕๔๖.

วิศนุ ทรัพย์สุวรรณ. ๒๕๔๙. ย้อนรอสยาม. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์เพชรประกาย.

ศรัณย์ ทองปาน. ๒๕๕๐. ช ช้าง กับ ฅ ฅน. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์สารคดี.

ส. พลายน้อย. ๒๕๔๓. ป้อมวิชัยประสิทธิ์. สารคดี (มีนาคม ๒๕๔๓): ๑๓๖.

สวัสดิการสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. ๒๕๔๖. รวมข้อปฏิบัติการใช้ การชัก หรือการแสดงธงชาติ กฎหมายว่าด้วยธงฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพ: โรงพิมพ์สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.

สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. ๒๕๓๗. ช้างไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มติชน.

สุรพล ไตรเวทย์. ๒๕๕๐. การร่างประมวลกฎหมายในประเทศสยาม. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์วิญญูชน.

เสนีย์ ปราโมช, ม.ร.ว. ๒๕๐๙. ประชุมปาฐกถาและคำอภิปรายของ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช พ.ศ.๒๔๘๙ – ๒๕๐๙. พระนคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด บำรุงสาส์น.

หยุด แสงอุทัย. ๒๕๔๘. ความรู้เบี้ยงต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ ๑๖. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ประกายพรึก.

อนันต์ชัย เลาหะพันธุ. ๒๕๓๐. กำเนิดธง. สตรีสารภาคพิเศษ (๒๗ กันยายน ๒๕๓๐): ๑๔ – ๑๕. _________________. ๒๕๓๐. ธงในสมัยกลาง. สตรีสารภาคพิเศษ (๔ ตุลาคม ๒๕๓๐): ๒๐ – ๒๑. _________________. ๒๕๓๐. ลักษณะของธงประจำชาติในปัจจุบัน. สตรีสารภาคพิเศษ (๑๘ ตุลาคม ๒๕๓๐): ๒๐ – ๒๑. _________________. ๒๕๓๐. วิวัฒนาการของธงประจำชาติ. สตรีสารภาคพิเศษ (๑๑ ตุลาคม ๒๕๓๐): ๒๐ – ๒๑. _________________. ๒๕๓๐. สัญลักษณ์ของธงประจำชาติในปัจจุบัน. สตรีสารภาคพิเศษ (๒๕ ตุลาคม ๒๕๓๐): ๑๒ – ๑๔.

อมรดรุณารักษ์, จมื่น. ๒๕๑๒. พระราชกรณียกิจสำคัญในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่ม ๖ เรื่อง เหตุที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ทรงเปลี่ยนธงชาติไทย ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ สำรวจคอคอดกระ รัชกาลที่ ๖ โปรดเกล้าฯให้เลิกหวย ก.ข. ที่ประทับชายทะเลของรัชกาลที่ ๖ กำเนิดสวนลุมพินี. กรุงเทพ: องค์การค้าของคุรุสภา.

๑๒
หน้า ๑๒ จาก ๑๒ หน้า